5 ต.ค. 2565

Personal Data Protection Act

PDPA (Personal​ Data Protection Act) หรือ​พ.รบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล​ปีพศ.2562 บังคับใช้​ 1 มิถุนายน ​2565

ข้อมูลที่​ PDPA​ คุ้มครอง
1)​ข้อมูลที่ระบุตัวเรา​ เช่น​ ชื่อ​ นามสกุล​ อีเมล์​ ที่อยู่, เลขบัตรประชาชน​หนังสือเดินทาง​ ใบอนุญาต​ขับขี่, ทะเบียนรถ​ โฉนดที่ดิน​ ทะเบียนบ้าน, วันเดือนปีเกิด​ สัญชาติ​ น้ำหนัก​ ส่วนสูง, ข้อมูลอินเตอร์เน็ต​เช่น​ username password cookies ip address GPS Location 

2)ข้อมูลที่อ่อนไหว เช่น
-เชื้อชาติ​ เผ่าพันธุ์​
-ความคิดทางการเมือง
-ความเชื่อ​ ศาสนา
-พฤติกรรมทางเพศ
-ประวัติอาชญากรรม​

การปรับโทษ
มีตั้งแต่โทษมางแพ่ง​ ปรับไม่เกิน​1ล้านบาท​ ​ไปจนถึงโทษอาญาจำคุกไม่เกิน​ 6เดือน

สิทธ์ที่ประชาชนจะได้รับ
-ทำให้รู้ว่าข้อมูลที่ถูกเก็บไปมีอะไรบ้าง, แชร์ให้ใครบ้าง, เอาไปทำอะไร
-ขอสำเนาข้อมูลของตัวเองได้
-ขอโอนข้อมูลตัวเองให้บริษัทอื่นได้
-ขอหยุดการใช้ข้อมูล​ และขอลบเมื่อไรก็ได้

สิ่งที่บริษัทต้องปรับตัว
-เพิ่มนโยบายดูแลข้อมูลลูกค้า
-มีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล​ในบริษัท​(DPO)​
-แจ้งให้ลูกค้าทราบเรื่องการนำข้อมูลไปใช้​ และขอความยินยอม​ ทำได้ทั้ง​ทั้งรูปแบบเอกสาร​แจ้งเตือนออนไลน์, ระบบ​ Cookies ฯลฯ​

โดยกฏหมาย​ GDPA ของไทยอ้างอิงมาจาก​กฏหมาย​ GDPR (General, Data, Protection, Regulation) ของยุโรปอีกทีหนึ่ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

การประมวลแนวทางปฏิบัติ และกรอบมาตรฐาน มาตรฐานขั้นต่ำ และแบบตรวจประเมินแนวทางปฏิบัติด้าน Cyber Security ของหน่วยงาน CII

การประมวลแนวทางปฏิบัติและกรอบมาตรฐานด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Cyber Security) สำหรับหน่วยงานโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ (Cr...